อนาคตยางนาอายุ 100 ปี 24 ต้น ที่แยกกองทราย กำลังจะเปลี่ยนไปกับการพัฒนา

หนึ่งในแนวคิดที่น่าสนใจ คือการปรับเปลี่ยนรูปแบบการก่อสร้างจากทางยกระดับ เป็นอุโมงค์ทางลอดแทน เพื่อไม่บดบังทัศนียภาพเดิมที่งดงามของถนนสายต้นยางนา โดยต้องระวังไม่ให้กระทบกับระบบรากต้นยางนา 2 ต้น(654 และ 658) ที่อยู่ริมถนน พร้อมกับออกแบบผนังอุโมงค์เป็นศิลปล้านนา หรือสื่อให้เห็นถึงระบบนิเวศใต้ดิน สอดคล้องกับการเป็นถนนสายวัฒนธรรม

สมาคมยางนาขี้เหล็ก-สยาม เสนอแนวคิด เล่าเรื่อง ผ่าน…”ต้นยางนาที่โค่นล้ม” ประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม นิเวศวิทยา

นอกจากนี้ท่อนไม้ที่ตัดจากต้นไม้ริมถนนนำมาใช้ประโยชน์ในชุมชน อาทิ สนามเด็กเล่นมีท่อนไม้ให้เด็กปีนเล่น ม้านั่ง แผ่นป้ายในโรงเรียน ป้ายชื่อต้นไม้ นอกจากนี้ยังทำท่อนไม้สื่อความหมายในสวนธารณะ เป็นต้น

นายอำเภอสารภี “หารือหมอต้นไม้ และคณะทำงานฯ” หลังเกิดเหตุต้นยางนาโค่นล้มใส่บ้านเรือนประชาชน

จะมีวิธีไหนที่จะสร้างความปลอดภัยต่อชีวิตและทรัพย์สินแก่ประชาชนในพื้นที่และผู้ที่สัญจรใช้เส้นทาง ไปพร้อมๆกับการอนุรักษ์ และฟื้นฟูต้นยางนาทั้งหมดเอาไว้ เมื่อต้องอยู่ร่วมกัน

หมอต้นไม้ วิเคราะห์ “ต้นยางนาล้ม..จากเหตุพายุ” แนะวิธีสแกนโพรงในลำต้นและระบบราก ประเมินความเสี่ยง

ยังมีต้นยางนาที่ต้องสำรวจโพรงอย่างเร่งอีกหลายต้น เพื่อหาแนวทางการจัดการดูแล โดยการสแกนโพรงในลำต้นและระบบราก

โครงการการรักษาฟื้นฟูระบบราก

ปัจจุบันมีต้นยางนาจำนวน 949 ต้น  บางต้นสูงสง่าให้ความร่มรื่น เติมแต่งให้ถนนสวยงาม บางต้นอยู่ในสภาพทรุดโทรม ยามกิ่งหักโค่น ประชาชนและผู้ที่ใช้เส้นทางสัญจรไปมาก็ได้รับความเดือดร้อน มีจำนวนไม่น้อยเกิดความรู้สึกในทางลบ

นวัตกรรมสร้างสรรค์เพื่อชุมชนคนรักษ์ยางนา

หลังจากรู้จักเครือข่ายอาสาสมัครพิทักษ์ต้นยางนาที่มาช่วยกันดูแลและอนุรักษ์ทิวต้นยางนาริมถนนเชียงใหม่-ลำพูน กันไปในตอนที่แล้ว ก็ถึงเวลาแนะนำเครื่องมือสำคัญที่ทำให้การทำงานของเครือข่ายนี้ง่ายขึ้น